รูปแบบรถไฟฟ้าไทย ที่ประเทศไทยใช้อยู่ในปัจจุบันมีกี่ประเภท และ ประวัติศาสตร์รถไฟฟ้าในไทย กับ วิทยาศาสตร์กับวิถีชีวิต เรื่องราวรถไฟฟ้า มีรายละเอียดอย่างไรบ้าง หาคำตอบไปพร้อมกันในบทความ วิทยาศาสตร์และประวัติศาสตร์ กับ พาตะลอน ลายแทงความรู้
รูปแบบรถไฟฟ้าไทย ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ “รถไฟฟ้าระบบรางเบา” และ “รถไฟฟ้าระบบรางหนัก”
ระบบรางเบา เป็นโครงสร้างรางรถไฟฟ้า ที่เน้นการใช้พื้นน้อย ระยะทางไม่ไกลมาก เป็นลักษณะรางเดี่ยว โดยมีคุณสมบัติทั้งหมดดังนี้
ระบบรางหนัก เป็นระบบรางที่ใช้ประโยชน์ในทางไกล ใช้พื้นที่มากกว่าระบบรางเบา บรรทุกผู้โดยสารได้มาก โดยมีคุณสมบัติทั้งหมดดังนี้
ปัจจุบันรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการในกรุงเทพฯ เป็นระบบรถไฟฟ้ารางหนัก ขณะที่มีรถไฟฟ้าที่สร้างเสร็จ และกำลังเกิดขึ้นในอนาคต เช่น รถไฟฟ้าสายสีต่างๆ จะเป็นระบบรางเบา ในรูปแบบรางเดี่ยว ที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
รถไฟฟ้า (Electric Traians) เป็นทางออกของการเดินทางในเมืองใหญ่ การขนส่งมวลชนในเมืองใหญ่ เช่น ที่เมืองหลวงอย่างกรุงเทพฯ ที่มีประชากรอาศัยอยู่หลายล้านคน การใช้รถโดยสารตามท้องถนน อย่างรถเมล์ แท็กซี่ มอเตอร์ไซต์รับจ้าง ไม่เพียงพอต่อความต้องการเดินทางของผู้คน
รถไฟฟ้าเข้ามามีบทบาทต่อการเดินทางของผู้คน ในพื้นที่กรุงเทพฯ ที่มีประชาชนแออัด ปัจจุบันรถไฟฟ้าสามารถช่วยแก้ปัญหาการจราจรได้ดี ลดการจราจรที่ติดขัด ปัญหาทางสิ่งแวดล้อม และเป็นสิ่งสำคัญที่เข้ามามีส่วนสำคัญของคนไทย
รถไฟฟ้าของไทย มีประวัติศาสตร์ความเป็นมา เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ที่เริ่มระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ครั้งแรก ด้วยรถไฟฟ้าอย่างเป็นทางการ และมีการพัฒนาเรื่อยมาตามลำดับ
ประเทศไทยอยู่ในขั้นตอน การพัฒนาขนส่งมวลชน ด้วยรถไฟฟ้า เชื่อมต่อหลายพื้นที่ภายในโซนกรุงเทพและปริมณฑล และเชื่อมต่อไปยังหลายจังหวัดสำคัญ ในประเทศไทย โดยมีแผนการพัฒนารถไฟฟ้าดังนี้
รูปแบบรถไฟฟ้าไทย ปัจจุบันก็มีด้วยกัน 2 ประเภท ซึ่งในอนาคต รถไฟฟ้าในกรุงเทพและปริมณฑล จะถูกสร้างด้วยระบบรถไฟฟ้ารางเบาเป็นส่วนใหญ่ และมีแผนการเชื่อมต่อพื้นที่เดินทางด้วยรถไฟฟ้า ไปยังจุดต่างๆ เหมือนโครงข่ายใยแมงมุมในอนาคต
อัปเดตข่าวสารฉับไวทุกวัน ทุกเรื่องบนโลกใบนี้ ทุกข่าวสารใหม่ เนื้อหาเน้นๆ รู้ทันก่อนใคร ติดตามได้ที่พาตะลอน